วันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555

>>..Landslide Potential Map By GIS


หัวข้อนี้ผู้เขียนอยากนำเสนอปัญหาพิเศษของตนเองสมัยเรียน ป. ตรี คะ่ 
เผื่อใครสนใจงานทางนี้ ศึกษาคร่าว ๆ ได้เลยค่ะ

หัวข้อที่ผู้เขียนศึกษาจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินถล่มในอำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์จัดมำแผนที่

Landslide Potential Map at  Lomkao District, Phetchabun  Province  using 
Geographic Information System

Case study ของจังหวัดที่เคยเกิดแผ่นดินถล่ม ที่ใครหลายคนยังไม่ลืม
 บ้านน้ำก้อ อ.หล่มสัก

 บ้านน้ำลี จ.อุตรดิตถ์

1.ความหมายของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ GIS
              ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System : GIS คือกระบวนการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้กำหนดข้อมูลและสารสนเทศ ที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ หรือจะกล่าวอย่างง่ายๆก็ได้ว่าเป็นการจัดการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ สัมพันธ์กับตำแหน่งในแผนที่ ตำแหน่ง เส้นรุ้ง เส้นแวง ข้อมูลและแผนที่ใน GIS เป็นระบบข้อมูลสารสนเทศที่อยู่ในรูปของ ตารางข้อมูล และ ฐานข้อมูลที่มีส่วนสัมพันธ์กับข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย จะสามารถนำมาวิเคราะห์ด้วย GIS และทำให้ สื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับช่วงเวลาได้ ใช้เป็นชุดของเครื่องมือที่มีความสามารถในการเก็บรวบรวมข้อมูล รักษาข้อมูลและการค้นคืนข้อมูล เพื่อจัดเตรียมและปรับแต่งข้อมูล เพื่อใช้ในการวิเคราะห์และการแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์การใช้งาน เช่น การแพร่ขยายของโรคระบาด การเคลื่อนย้ายถิ่นฐาน การบุกรุกทำลาย การเปลี่ยนแปลงของการใช้พื้นที่ ฯลฯ ข้อมูลเหล่านี้ เมื่อปรากฏบนแผนที่ทำให้สามารถแปลและสื่อความหมาย นำไปใช้งานได้ง่าย

2.วัตถุประสงค์
              Specify Landslide Hazard Area. By  study  about many factor to determine, that  apply to  Landslide Hazard Potential Map

3.พื้นที่ศึกษา

 อำเภอหล่มเก่า  จังหวัดเพชรบูรณ์

4.ขั้นตอนการศึกษา
 
5.วิธีการที่ใช้วิเคราะห์
Weighted factor index used for creating Landslide Potential Map
  • Rock Type 
  • Slope
  • Precipitation
  • Land use
  • Elevation
อ้างอิงวิธีการจาก  Department of Natural Resource, Prince of Songkla University
  
                                                  6. วิเคราะห์ได้ผลดังนี้ 
                                                  1. วิเคราะห์ชนิดหิน
  
    

แผนที่ธรณีวิทยา

                                                      2. วิเคราะห์ความชัน 


แผนที่ความชัน

                                                                       
   3. วิเคราะห์ความชัน 


                                                      แผนที่เส้นชั้นน้ำฝน


4. วิเคราะห์การใช้ประโยชน์ที่ดิน
                                             
                                                แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน


5. วิเคราะห์ความสูง


  แผนที่แสดงความสูง


7. ผลการศึกษาและวิเคราะห์

  
จะได้แผนที่พื้นที่ที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินถล่มทั้ง 5 ระดับ ต่ำ ต่ำมาก ปานกลาง สูง และสูงมาก ดังรูปนี้

(ผู้เขียนหวังว่าคงมีประโยชน์ไม่มากก็น้อยต่อใครหลาย ๆ คนค่ะที่อยากศึกษางานด้านนี้)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น